ยกเครื่องเรื่องแรงงานสัมพันธ์ ให้เป็นความผูกพันในองค์กรในยุค 4 Gen (Employee Relations upgrade to be Employee Engagement 4Gen)  โดย ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)

องค์กรของท่านเคยประกับปัญหาเหล่านี้บ้างไหม?

  • Turn Over สูง
  • หลังการยื่นข้อเรียกร้องและเจรจาต่อรอง มองหน้ากันไม่ติดไม่สนิทใจเหมือนก่อน
  • บรรยากาศในการทำงานมีความอึมครึม มีความหวาดระแวงในการบริหารงานระหว่างฝ่ายนายจ้างกับลูกจ้าง ไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
  • พนักงานมีการแบ่งกลุ่ม ขาดการประสานงานและทำงานกันเป็นทีม
  • พนักงานไม่ให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการ และกิจกรรมเพิ่มผลผลิตต่างๆขององค์กร
  • ผลการสำรวจความพึงพอใจตกต่ำ
  • พนักงานไม่มีความสุขในการทำงานส่งผลกระทบต่อคุณภาพของสินค้าและบริการของเสียเพิ่มขึ้น งานผิด ผลิตเกิน
  • มีการงด O.T. และ Slow down ในการทำงานของพนักงาน 

แล้วท่านหาทางออก หรือแก้ปัญหาอย่างไร ? ที่จะสร้างความผูกพันที่ดีให้เกิดขึ้นในองค์กร มีการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข สนับสนุนและส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กรที่กำหนดไว้

หลักสูตรนี้ได้รับการออกแบบและพัฒนาขึ้น โดยใช้แนวทางการบริหารแรงงานสัมพันธ์เชิงรุกยุคใหม่ (Modern Employee Relations) ผสมผสานกับการดำเนินกิจกรรมสร้างความผูกพันในองค์กร (Employee Engagement)  เพื่อช่วยให้ท่านและองค์กรของท่านได้รับแนวทางกึ่งสำเร็จรูป ที่สามารถนำไปปรับในการยกระดับงานแรงงานสัมพันธ์ภายในองค์กร ให้กลายเป้นการสร้างความสุข และความผูกพันในองค์กรได้ทันทีหลังจากเสร็จสิ้นการฝึกอบรม

สิ่งที่ท่านและองค์กรของท่านจะได้รับ  : 

  1. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการบริหารแรงงานสัมพันธ์เชิงรุกสมัยใหม่
  2. เสริมสร้างบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างานที่ดีในการส่งเสริมความผูกพันในองค์กร
  3. เรียนรู้วิธีการใช้เครื่องมือการจัดการด้านแรงงานสัมพันธ์ เพื่อสร้างความผูกพันในองค์กร
  4. สามารถจัดทำแผนงานแรงงานสร้างความผูกพันในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. สามารถวัดผล/ประเมินผลการบริหารงานแรงงานสัมพันธ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม

หัวข้อสำคัญการเรียนรู้  :

ส่วนที่  1  :  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแรงงานสัมพันธ์ (Employee Relations Introduction)

  • แรงงานสัมพันธ์ คือ อะไร ?
  • ปัญหาแรงงานสัมพันธ์จากนายจ้าง
  • มูลหตุที่อาจส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์อันดีในองค์กรที่เกิดจากลูกจ้าง
  • สร้างแรงงานสัมพันธ์ที่ดี แล้วเราจะได้อะไร ?

ส่วนที่  2  :  บทบาทหน้าที่ ของผู้บริหาร หัวหน้างานในการบริหารแรงงานสัมพันธ์

  • ทฤษฎีบ้าน 2 หลังในการสร้างแรงงานสัมพันธ์เชิงรุก
  • 10 เทคนิคในการการสร้างบรรยากาศความผูกพันในองค์กร

ส่วนที่  3  :  การบริหารแรงงานสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์กับการตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ (Strategic Employee Relations Management)

ส่วนที่  4  :  กระบวนการสร้างแรงงานสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ (Employee Relations Process)

ส่วนที่  5  :  การวิเคราะห์องค์กรด้านแรงงานสัมพันธ์ (Employee Relations Self-analysis) ตามแนวทางของ CSR

  • การวิเคราะห์องค์กร ด้านแรงงาน ด้วยการทบทวนความสอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน และข้อกำหนดของลูกค้า ตามหลักการของ CSR
  • ตัวอย่าง 1 : การทบทวนความสอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน
  • Workshop 1 : ทบทวนความสอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน และข้อกำหนดของลูกค้าด้านแรงงาน (Labor  Law  Visual  Awakening)

ส่วนที่  6  :  5 เครื่องมือในการบริหารจัดการแรงงานสัมพันธ์เชิงรุก ในการสร้างความผูกพันในองค์กร (Employee Relations Tools for Employee Engagement)

ส่วนที่  7  :  เทคนิคการบริหารแรงงานสัมพันธ์เชิงรุกภายในองค์กรภาคปฏิบัติ (Employee Relations Techniques)

  • การกำหนดนโยบายแรงงานสัมพันธ์ที่ดี
  • การวางระบบสื่อสารภายในองค์กร
  • การสร้างกลไกทวิภาคีภายในองค์กร
  • การดำเนินกิจกรรมส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์
  • ตัวอย่าง 2 : การทวนสอบระบบแรงงานสัมพันธ์ ด้วย Employee Relation Check List

ส่วนที่  8  :  การจัดทำแผนงานสร้างความผูกพันในองค์กร (Employee Engagement Master Plan) ที่โดนใจผู้บริหาร และตอบโจทย์ความต้องการของพนักงาน

  • การหาความต้องการของพนักงาน (Employee Relations Needs) ในการสร้างแรงงานสัมพันธ์
  • ตัวอย่าง 3 : เครื่องมือในการหาความต้องการของพนักงานด้านแรงงานสัมพันธ์
  • การวิเคราะห์และเลือกความต้องการของพนักงานมาจัดทำแผนงานสร้างความผูกพันในองค์กร
  • ตัวอย่าง 4 : แผนงานแรงงานสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์
  • Workshop 2 : จัดทำแผนงานสร้างความผูกพันต่อองค์กร (Employee Engagement Plan)

ส่วนที่  9  :  การวัดผลการดำเนินงานความผูกพันในองค์กร (Employee Engagement KPIs)

  • Employee Engagement KPIs ที่ CEO อยากเห็น
  • ตัวอย่าง 5 :  Employee Relation KPIs

ส่วนที่  10  :  ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการบริหารแรงงานสัมพันธ์และความผูกพันในองค์กร (Key Success) 

รูปแบบ/วิธีการเรียนรู้  :

  • การบรรยายจากประสบการณ์ภาคปฏิบัติ
  • การทำกิจกรรมกลุ่ม (Workshop) ระดมความความคิด นำเสนอผลงาน 
  • การซักถาม การแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกัน 

ระยะเวลาการเรียนรู้ :

จำนวน 1 วัน ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น. 

หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ :

ผู้บริหาร ผู้จัดการ หัวหน้าแผนก สหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจ้าง นักบริหารแรงงานสัมพันธ์ และนักบริหารทรัพยากรบุคคล  

สนใจหลักสูตรติดต่อ คุณฐิตาภา (ไก่) 

Hotline : 095-853-5513, 091-738-7838, 02-061-3276

E-mail : peopledevelop@outlook.com 

Visitors: 285,438