การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร รุ่น 2 (Purchasing spare parts in maintenance) : 5 มิถุนายน 2568

การควบคุมอะไหล่หรือ Spare Parts Control ที่ไม่มีประสิทธิภาพจะทำให้เหตุการณ์เครื่องจักรเสียที่รู้สาเหตุและวิธีแก้ไขต้องล้าช้าออกไปเนื่องจากไม่มีอะไหล่ที่จะนำมาใช้ได้ทันที เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด ก็เรียกได้ว่าเป็นปัญหาที่มาจากการควบคุมอะไหล่ โดยมีเป้าหมายการทำ Spare Parts Control คือ

- ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ

- สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลาน้อยที่สุด

- ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ

วัตถุประสงค์

1. เพื่อลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทอะไหล่ อุปกรณ์ (Spare parts)

2. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) และเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) อย่างได้ผล 

3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร (Overall Equipment Effectiveness) ได้จากการเพิ่มเวลาการผลิตของเครื่องจักรด้วยการซ่อมบำรุงได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น

4. เพื่อลดเวลาความสูญเสีย (Losses time) ที่เกิดจากเวลาการหยุดของเครื่องจักรที่ยาวนาน (Machine Break-down or Downtime)

5. เพื่อลดความสูญเปล่า (Wastes) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ด้วยการลดเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าระหว่างการซ่อมบำรุงเครื่องจักร

6. เพื่อลดของเสีย (Defects) ที่เกิดขึ้นก่อนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร

7. เพื่อสามารถวางแผนการจัดซื้อ จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่างทันเวลาพอดี (Just in time Purchasing)

8. เพื่อให้มีปริมาณวัสดุเผื่อฉุกเฉิน (Safety Stock spare parts) ที่ต่ำอย่างเหมาะสม

9. เพื่อสามารถผลิตสินค้าได้ตามปริมาณและเวลาที่ลูกค้ากำหนดได้อย่างต่อเนื่อง

10. เพื่อลดเวลาการผลิต (Production cycle time) เพิ่มกำลังการผลิต (Capacity) และเพิ่มกำไร (Profit) ให้สถานประกอบการได้

 

เนื้อหาของหลักสูตร

เวลา 09.00-10.30 น.

     1. การควบคุอะไหล่คืออะไร (Spare Parts Control) และเป้าหมายของการควบคุมอะไหล่

     2. ขั้นตอนการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพ

     3. ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร

     4. ประเภทของการซ่อมบำรุงรักษา

     5. การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance)

     6. ความหมายของค่า OEE และ Loss time ของเครื่องจักร

     7. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา

     8. การควบคุมสินค้าคงคลังและการแบ่งกลุ่มสินค้าแบบ ABC(ABC Analysis)

เวลา 10.30-10.45 น. พักเบรก

เวลา 10.45-12.00 น.

     9. วิธีการสั่งซื้ออะไหล่

   10. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา

   11. ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดค่า Stock levels

   12. การกำหนดปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ

เวลา 12.00-13.00 น. พักทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00-14.30 น.

  13. Safety Stock ปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย

  14. ตารางและแผนการผลิตหลัก (Master Planning Schedule: MPS)

  15.การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ MRP (Material Resource Planning)

เวลา 14.30-14.45 น. พักเบรก

เวลา 14.45-16.00 น.

  16. เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงหรือการคัดเลือกคุณภาพของ Supplier

  17. กลยุทธ์การมีข้อตกลงในระยะยาวสำหรับงานจัดซื้อและจัดหา

  18. วิธีการควบคุมปริมาณสินค้าคงคลังให้ลดลงอย่างเหมาะสม

วิธีการสัมมนา  

การบรรยาย ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ

กลุ่มเป้าหมายหลัก 

ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับกลาง หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า วิศวกร 

วิทยากร :อาจารย์ อนันต์ ดีโรจนวงศ์ 

  • ที่ปรึกษาอุตสาหกรรมด้าน Lean Production & Logistics  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น 
  • ที่ปรึกษาอุตสาหกรรมและ Logistics & Supply Chain Management สมาพันธ์สมาคมอุตสาหกรรมสนับสนุน 
  • อาจารย์พิเศษ คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงสถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่นม.ศรีปทุมม.ธุรกิจบัณฑิต  
  • ที่ปรึกษาสถานประกอบการดีเด่นโครงการ OPOAI กระทรวงอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2557  

วันและเวลาสัมมนา  : 

รุ่น 2  วันที่  5  มิถุนายน  2568  ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น.   

สถานที่สัมมนา : 

-

ค่าลงทะเบียนอบรม 

พิเศษ 2,900 บาท/ท่าน เมื่อชำระก่อนการอบรม 7 วันทำการ 

พิเศษลงทะเบียน 4 ท่าน ชำระเพียง 3 ท่าน 

วิธีการชำระค่าลงทะเบียน : 

โอนเงิน หรือเช็คขีดคร่อมในนาม บริษัท พีเพิล ดีเวลลอป เซ็นเตอร์ จำกัด หรือ People Develop Center Co., Ltd. 

ธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด(มหาชน) สาขาถนนลาดปลาดุก (หมู่บ้านพฤกษา 3) บัญชีเงินฝากออมทรัพย์เลขที่ 4057769552   

บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการเก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมหากมีค่าธรรมเนียมในการโอนเกิดขึ้น   

ค่าธรรมเนียมในการโอนเงิน (ถ้ามี) ผู้โอนเงินต้องเป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเอง   

คำแนะนำในการชำระค่าลงทะเบียน  

  • โปรดส่งสำเนาใบโอนเงิน พร้อมเอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% ระบุชื่อบริษัท ชื่อหลักสูตร  Scan ส่งเมล์มาที่ peopledevelop@outlook.com ในวันโอนเงิน
  • เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่ายตัวจริงกรุณานำมาให้ในวันอบรม กรณีเอกสารไม่ครบจะต้องชำระส่วนเพิ่มเป็นเงินสดที่หน้างาน  

ข้อมูลเพื่อออกใบหักภาษี ณ ที่จ่าย 
บริษัท พีเพิล ดีเวลลอป เซ็นเตอร์ จำกัด เลขที่ 22/20 หมู่ 6 ตำบลบางคูรัด อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110  

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี  0125558000502  

กรณียกเลิกการอบรมกรุณาแจ้งล่วงหน้า 7 วันก่อนอบรม หากหลังจากนั้นกรุณาชำระเงิน 30% ของค่าอบรมเพื่อรับเอกสาร   

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : คุณฐิตาภา (ไก่) เหมะสิขัณฑกะ   

Tel : 095-853-5513, 091-738-7838 

E-mail : peopledevelop@outlook.com 

Visitors: 330,304