การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) โดย อาจารย์ โกศล ดีศีลธรรม

ปัจจุบันแนวโน้มอุตสาหกรรมได้ถูกปรับเปลี่ยนไปจากรูปแบบเดิมที่มุ่งใช้แรงงานสู่ความเป็นอัตโนมัติมากขึ้น  ดังนั้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบำรุงรักษาไม่เพียงแค่ศูนย์ต้นทุนแต่ได้กลายเป็นอาวุธสำคัญในการแข่งขัน ทำให้การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน คือ ส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างความน่าเชื่อถือให้เครื่องจักรที่มุ่งรักษาสภาพเครื่องจักรให้พร้อมใช้งานด้วยการดำเนินกิจกรรมบำรุงรักษาก่อนจะเกิดเหตุขัดข้อง  รวมถึงประเด็นการจัดสรรทรัพยากรที่จำเป็นต่องานซ่อมบำรุงให้เสร็จภายในกำหนดด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม 

ประโยชน์ที่ได้รับ :

  1. กำหนดรอบเวลาการบำรุงรักษาอย่างเหมาะสม
  2. สามารถลดปัญหาความสูญเสียจากเครื่องจักรขัดข้อง
  3. สามารถสร้างแผนแม่บทงานบำรุงรักษา
  4. จัดทำมาตรฐานเพื่อป้องกันปัญหาเครื่องจักรขัดข้อง  

หัวข้อสัมมนา :

  1. ปัญหาการบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุ
  2. การบำรุงรักษาเชิงรุก
  3. ต้นทุนความสูญเสียจากเครื่องจักรขัดข้อง
  4. ประเภทสาเหตุเครื่องจักรขัดข้อง
  5. บทบาทการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
  6. โครงสร้างกิจกรรมบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
  7. ระบบควบคุมงานบำรุงรักษา
  8. กระบวนการวางแผนบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
  9. แนวทางลำดับความสำคัญเครื่องจักร
  10. ปัจจัยกำหนดรอบเวลาถอดเปลี่ยนที่เหมาะสม
  11. การวางแผนงานระบบหล่อลื่น
  12. การจัดทำคู่มือเอกสาร
  13. แนวทางจัดทำตัวชี้วัดประสิทธิผล
  14. ตัวอย่างเอกสาร/แบบฟอร์ม 

ระยะเวลาในการเรียนรู้ :  

จำนวน 1-2 วัน ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น.  

วิธีการในการเรียนรู้ :  

  • การบรรยาย (Lecture) 
  • การจัดทำ Workshop ฝึกปฏิบัติ และการนำเสนองาน 
  • การตอบข้อซักถาม  

หลักสูตรนี้เหมาะสมสำหรับ :  

ผู้จัดการโรงงาน วิศวกร  ช่างเทคนิค เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต และผู้สนใจเทคนิคงานบำรุงรักษา

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ : คุณฐิตาภา (ไก่) เหมะสิขัณฑกะ
Tel : 095-853-5513, 091-738-7838

E-mail : peopledevelop@outlook.com

Visitors: 285,091