เทคนิคการวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ (Production Planning and Control) โดย อาจารย์ อนันต์ ดีโรจนวงศ์

การวางแผนและควบคุมการผลิตผลิต (Production Planning and Control) เป็นหลักการในการกำหนดคุณค่าของการดำเนินงานผลิตและกำจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตออกไปได้อย่างเหมาะสม ทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง และทำให้เวลาการผลิตสั้นลงหรือเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้นโดยใช้เวลาเท่าเดิมหรือลดลง รวมถึงสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้อย่างไม่มีวันสิ้นสุด การวางแผนการผลิตที่ดีจะทำให้สามารถติดตามงานการผลิตและควบคุมการผลิตให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาการผลิตและส่งมอบที่ไม่ทันหรือไม่ครบถ้วนได้ ที่สำคัญแผนการผลิตที่ดีจะทำให้เราทราบถึงปัญหาก่อนที่มันจะเกิดและถูกป้องกันมิให้ปัญหาเหล่านั้นเกิดขึ้นมาอีกได้อีก

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อสามารถจัดระเบียบการไหลของงานในระบบผลิต และติดตามการทำงานนั้นว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่
  2. เพื่อที่จะได้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา หรือเป็นการเตรียมและจัดการทรัพยากรและความต้องการ ตลอดจนทางเลือกต่างๆให้เกิดความพร้อมสำหรับการผลิต
  3. เพื่อให้บรรลุตามแผนการที่ได้กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมถึงการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้กำหนดไว้ในทุกขั้นตอนรายละเอียดอย่างครบถ้วน
  4. เพื่อสามารถผลิตสินค้าได้ตามแผนที่ต้องการ

หัวข้อสำคัญของการเรียนรู้

  1. ความหมายของการวางแผนและควบคุมการผลิต และคำจำกัดความที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและควบคุมการผลิต
  2. ความสำคัญของการผลิตและกระบวนการควบคุมการผลิต
  3. การลดความสูญเสียในการผลิต
  4. ระบบการผลิตทันเวลา (Just-in-Time หรือ JIT)
  5. ข้อกำหนดของการวางแผนและควบคุมการผลิต
  6. การกำหนดเป้าหมายการบริหารจัดการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ
  7. หน้าที่และการประสานงานของฝ่ายต่าง ๆในองค์กรเพื่อการวางแผนการผลิต
  8. แนวคิดและเครื่องมือของการเสริมสร้างเสริมประสิทธิภาพในการผลิต
  9. ระบบการผลิตแบบผลัก (Push System) และแบบดึง (Pull System)
  10. ระบบคัมบัง (Kanban System)
  11. เทคนิคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนการผลิต เช่น การผลิตอย่างต่อเนื่อง, มาตรฐานการทำงาน (Standardized Work), ผังสารธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping: VSM)                    
  12. การวัดค่า Cycle time การผลิตสินค้า
  13. การวิเคราะห์เส้นทางการผลิตสินค้าด้วยแผนการไหลของกระบวนการผลิต
  14. การวิเคราะห์ค่า Cycle time การผลิตของกระบวนการทำงานอุตสาหกรรม
  15. Process time & Cycle time & Manpower
  16. Takt time & Cycle time
  17. ใช้หลักการการจัดลำดับงานและตารางการผลิต (Sequencing and Scheduling)
  18. การสร้างตารางแผนการผลิตหลัก MPS (Master Production Schedule)
  19. การสร้างสูตรการผลิตสินค้า (Bill of Material : BOM)
  20. การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ MRP (Material Resource Planning) 
  21. การผลิตแบบต่อเนื่องด้วย Production Board
  22. สาเหตุของความไม่สำเร็จในการวางแผนการผลิต
  23. การใช้ระบบ ERP เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการผลิต (Enterprise Resource Planning: ERP)

ระยะเวลาในการเรียนรู้ :  

จำนวน 1 วัน ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น. 

วิธีการในการเรียนรู้ :  

  • การบรรยาย (Lecture) 
  • การจัดทำ Workshop ฝึกปฏิบัติ และร่วมอภิปราย
  • การตอบข้อซักถาม 

หลักสูตรนี้เหมาะสมสำหรับ :  

ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับกลางหรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ฝายวางแผนฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้าวิศวกร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : คุณฐิตาภา (ไก่) เหมะสิขัณฑกะ

Tel : 095-853-5513, 091-738-7838

E-mail : peopledevelop@outlook.com 

Visitors: 286,272