การนำ OKRs ไปใช้ในการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective OKRs in Action) โดย อาจารย์ ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)

Objective & Key Results (OKRs) คือ การตั้งเป้าหมายของบุคลากรแต่ละคนในองค์กรแบบมีส่วนร่วม โดยที่ทุกๆ Key Results ของทุกๆ คน สอดคล้องกับ Objective และสอดล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กร 

แต่ในทางปฏิบัติอาจประสบกับปัญหาในด้านต่างๆ เช่น

  • บุคลากรที่มียังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง OKRs
  • OKRs ไม่วัดงานRoutine อ้าว ! แล้วจะวัดอะไร ???
  • OKRs คือ Project และ Project คือ OKRs เท่านั้นหรือ ?
  • ไม่สามารถแยกความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง OKRs (Objective & Key Results) กับ KPIs (Key Performance Indicators) 
  • ออกแบบและกำหนด OKRs แต่ไม่เชื่อมโยงกับสอดล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กร
  • ออกแบบและกำหนด Key Results แต่ไม่เชื่อมโยงกับสอดล้องกับ Objective
  • ไม่รู้เทคนิคและวิธีออกแบบและกำหนด OKRs ให้เชื่อมโยงสอดคล้องกันทั้งองค์กร
  • ไม่รู้จะกำหนดแนวคิดที่ทำให้องค์กรบรรลุ OKRs ได้อย่างไร
  • ไม่รู้แนวทางในการนำ OKRs ไปต่อยอดการบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร
  • หากมี KPIs ระบบ ISO9001/IATF16949 จะแปลงไปเป็น OKRs ได้หรือไม่ ? ถ้าได้จะทำอย่างไร ?
  • ไม่รู้วิธีการและเทคนิคเชื่อมโยง OKRs สู่ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี

หลักสูตรฝึกอบรมสถาบันฯ ได้ออกแบบและพัฒนาขึ้นจากประสบการณ์ ที่จะช่วยไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นสู่ Effective OKRs in Action ในรูปแบบ “การเรียนรู้ที่กระชับ เข้าใจง่าย และมี Workshop ฝึกปฏิบัติที่นำ OKRs ไปปรับใช้งานได้จริง”

วัถตุประสงค์ของการอบรม : เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม

  1. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการ แนวคิด และขั้นตอนการจัดทำ OKRs  (Objective and Key Results) มาปรับประยุกต์ใช้ในองค์การ
  2. เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง KPIs (Key Performance Indicators) และ OKRs
  3. สามารถนำ OKRs ไปปรับใช้งานโดยการกำหนดและทบทวน Company’s Objective ให้สอดคล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กรได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
  4. สามารถประยุกต์ใช้ Balance Score Card ในการกำหนด Objective และ Key Results ได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
  5. สามารถนำ OKRs ไปปรับใช้งานโดยการกำหนด OKRs ด้วยหลักการ S.M.A.R.T. Goals ให้สอดคล้องกับ Company’s OKRs และ Department’s OKRs และวัดผลลัพธ์ของงานได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
  6. สามารถนำ OKRs ไปปรับใช้งานโดยการกำหนดกลยุทธ์ หรือแนวคิดริเริ่มให้องค์กร/หน่วยงานให้สอดคล้องกับ OKRs ของตนเองได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
  7. สามารถจัดทำ OKRs Template ในการติดตามและทบทวนผลลัพธ์การดำเนินงานได้
  8. สามารถปรับเปลี่ยน KPIs ให้เป็น OKRs ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  9. สามารถนำ OKRs ไปประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หัวข้อสำคัญการอบรม :

ส่วนที่ 1 : หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ OKRs (OKRs Introduction)

  • ความหมายของ OKRs
  • ความสำคัญของ OKRs
  • องค์กรลักษณะใดควรใช้ OKRs
  • Mindset ของ CEO และพนักงาน
  • ความเหมือนและความต่างระหว่าง KPIs กับ OKRs

ส่วนที่  2  : แนวทางการสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้วย OKRs

  • การสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้วย OKRs
  • ข้อควรระวังในการจัดทำ OKR (Mistaken about OKR)

ส่วนที่  3  : ขั้นตอนการนำ OKRs มาใช้ (OKRs Process)

  • ประเภทของ OKRs ทั้ง 5 ระดับ: Company’s OKRs, Department’s OKRs, Section’s OKRs, Team’s OKRs, Position’s OKRs
  • ขั้นตอนการนำ OKRs มาใช้ (OKRs Process)

ส่วนที่ 4: วิธีการและเทคนิคการกำหนด OKRs ให้สอดคล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กร(Techniques OKR linked to Vision and Mission of Company)

  • แนวทางการกำหนดและทบทวนวัตถุประสงค์หลักขององค์กร (Review Objective) ให้สอดคล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กร
  • การสื่อสารความคาดหวังของ MD หรือ CEO เพื่อให้ตอบสนองเป้าหมายองค์กร โดยใช้ Strategic mapping (Objective alignment )
  • แนวทางการนำ Balance Score Card (BSC) มาใช้กำหนด Objective และ Key Results ให้ชัดเจน
  • Workshop 1  :  ฝึกปฏิบัติกำหนดและทบทวน Company’s Objective ให้สอดคล้องกับ Vision และ Mission ขององค์กร

ส่วนที่  5  :  วิธีการและเทคนิคการตั้งเป้าหมายการทำงานด้วย OKRs ให้สอดคล้องกันทั้งองค์กร (OKRs Cascade Techniques)

  • แนวปฏิบัติการตั้งเป้าหมายการทำงานด้วย OKRs ให้สอดคล้องกันทั้งองค์กร
  • Workshop 2  :  ฝึกปฏิบัติCompany’sOKRs Cascade สู่ Department’s OKRs

ส่วนที่  6  :  วิธีการและเทคนิคการกำหนด OKRs ภาคปฏิบัติ (OKRs Techniques in Practice)

  • หลักการในการตั้ง Objective ที่ดีและมีความเหมาะสม
  • Workshop 3 : ฝึกปฏิบัติกำหนด Objective ของ OKRs (Step 1)
  • เทคนิคในการกำหนด Key Result ด้วยหลักการ S.M.A.R.T. Goals
  • กำหนด OKRs อย่างไรให้ชัดเจน และสามารถติดตามผลเป็นตัวเลขได้ ?
  • Workshop 4 : ฝึกปฏิบัติกำหนด Department’s OKRs / Section’s OKRs (Step 2)

ส่วนที่  7  :  วิธีการและเทคนิคการกำหนดโครงการ OKRs (OKRs Project Assignment)

  • แนวทางการกำหนด OKRs Project Assignment ภาคปฏิบัติ

ส่วนที่  8  : วิธีการและการกำหนดกลยุทธ์หรือแนวคิดริเริ่มการดำเนินงานสู่ความสำเร็จตาม OKRs (OKRs Initiative or OKRs Tactics)

  • แนวทางการกำหนดกลยุทธ์หรือแนวคิดริเริ่มการดำเนินงานสู่ความสำเร็จตาม OKRs
  • Workshop 5 : ฝึกปฏิบัติกำหนด OKRs Initiative or OKRs Tactics (Step 3)

ส่วนที่  9  :  วิธีการและเทคนิคการติดตามและประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานตาม OKRs ด้วยแผนปฏิบัติงานและOKRs Template

  • วงรอบในการติดตามและทบทวนผลลัพธ์การดำเนินงานตาม OKRs
  • แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ OKRs และOKRs Initiative
  • แนวทางการจัดทำ OKRs Template ในการติดตามและทบทวนผลลัพธ์การดำเนินงาน
  • Workshop 6 : ฝึกปฏิบัติจัดทำ OKRs Template ในการติดตามและทบทวนผลลัพธ์การดำเนินงาน

ส่วนที่  10  :  ถ้าองค์กรมี KPIs อยู่จำเป็นต้องยกเลิก แล้วใช้ OKRs แทนหรือไม่

  • แนวทางการปรับเปลี่ยน KPIs ให้เป็น OKRs
  • Workshop 7 : ฝึกปฏิบัติการปรับแต่ง KPIs ให้กลายเป็น OKRs ด้วย BSC

ส่วนที่  11  :  ฉีกกฎ OKRs ในการเชื่อมโยง OKRs สู่การประเมินผลการปฏิบัติงาน

  • ความเชื่อมโยงของ OKRs กับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานยุคใหม่ (Modern Performance Management System)
  • แนวทางการประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Performance Appraisal)
  • แนวทางการนำ OKRs ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal based on OKRs)

ระยะเวลาการเรียนรู้ : 

จำนวน 1-2 วัน

วิธีการ/รูปแบบในการเรียนรู้ : 

  1. การบรรยาย (Lecture)  จากประสบการณ์ตรง ในรูปแบบการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) โดยมุ่งเน้นการกระตุ้น/ระดมความคิดแบบมีส่วนร่วมระหว่างฝึกอบรม (Participative Techniques)
  2. การจัดทำ Workshop ฝึกปฏิบัติ และการนำเสนองาน
  3. การแชร์ การตอบข้อซักถาม : เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจน และกระตุ้นผู้เรียนรู้ให้คิดตาม

หลักสูตรนี้เหมาะสมสำหรับ : 

ผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการ QMR ผู้ช่วยผู้จัดการ หัวหน้าแผนก คณะกรรมการ ISO ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และบุคลากรทุกระดับ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : คุณฐิตาภา (ไก่) เหมะสิขัณฑกะ  

Tel : 095-853-5513, 091-738-7838

E-mail : peopledevelop@outlook.com 

Visitors: 284,914